rbs.rsu.ac.th
08-1705-6585
ba-rsu@rsu.ac.th
Facebook
Instagram
Tiktok
Line
Youtube
หน้าหลัก
บุคลากร
ติดต่อ
หลักสูตร
ปริญญาตรี
การเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship)
การเงินและการลงทุน(Finance and Investment)
การตลาดดิจิทัลและนวัตกรรมค้าปลีก(Digital Marketing and Retail Innovations)
การจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน(Logistics and Supply Chain Management)
การบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ (Internatioal Business Administration)
การจัดการ (Management)
ธุรกิจดิจิทัล(Digital Business)
ปริญญาโท
ปริญญาโทการจัดการมหาบัณฑิต (M.M. : Master of Management)
ปริญญาโทธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A. : Master of Business Administration Program)
ปริญญาเอก
คณะ
เกี่ยวกับคณะ
บทความ
คลังภาพ
ทุนการศึกษา
เกี่ยวกับนักศึกษา
คำถามที่พบบ่อย
ปฎิทินการศึกษา
คู่มือลงทะเบียนเรียน
RSU Intranet
ประเมินการสอนอาจารย์
ยื่นคำร้องออนไลน์
วารสาร/ประชุมวิชาการ
เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจปริทัศน์
การประชุมวิชาการ
Menu
หน้าหลัก
บุคลากร
ติดต่อ
หลักสูตร
ปริญญาตรี
การเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship)
การเงินและการลงทุน(Finance and Investment)
การตลาดดิจิทัลและนวัตกรรมค้าปลีก(Digital Marketing and Retail Innovations)
การจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน(Logistics and Supply Chain Management)
การบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ (Internatioal Business Administration)
การจัดการ (Management)
ธุรกิจดิจิทัล(Digital Business)
ปริญญาโท
ปริญญาโทการจัดการมหาบัณฑิต (M.M. : Master of Management)
ปริญญาโทธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A. : Master of Business Administration Program)
ปริญญาเอก
คณะ
เกี่ยวกับคณะ
บทความ
คลังภาพ
ทุนการศึกษา
เกี่ยวกับนักศึกษา
คำถามที่พบบ่อย
ปฎิทินการศึกษา
คู่มือลงทะเบียนเรียน
RSU Intranet
ประเมินการสอนอาจารย์
ยื่นคำร้องออนไลน์
วารสาร/ประชุมวิชาการ
เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจปริทัศน์
การประชุมวิชาการ
สมัครเรียน
หากพูดถึงหลักแนวคิดใน
การสื่อสารทางการตลาด
หรือ การทำกิจกรรมทางการตลาดในอดีต เชื่อว่าไม่ว่าจะเป็น
นักการตลาด
หรือผู้สนใจทางด้านการตลาดน่าจะมีความคุ้นเคยกับกลยุทธ์ทางการตลาดที่สำคัญ 2 แนวคิดนี้คือ กลยุทธ์ทางการตลาดแบบผลัก (push marketing) และกลยุทธ์ทางการตลาดแบบดึง (pull marketing)
รู้จักกับ แนวคิดการตลาด ที่น่าสนใจ 2 รูปแบบ #บริหารธุรกิจ
แนวคิดการตลาด แบบเก่า
โดยแนวคิดทาง
การตลาดแบบผลัก (push marketing)
เป็นการพูดถึง กลยุทธ์ส่งเสริมการขายที่ธุรกิจพยายามแสดงข้อความ หรือ สารที่ต้องการจะส่งผ่านกิจกรรมต่างๆ ไปยังผู้มีโอกาสเป็นลูกค้า (prospect customer) หรือ กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย (targeted customer) ในขณะที่
การตลาดแบบดึง (pull marketing)
เป็นการพูดถึง การสื่อสารทางการตลาด หรือ การทำกิจกรรมทางการตลาด ต่างๆ เพื่อเป็นการดึงดูดความสนใจ และความต้องการ เพื่อที่จะดึงให้ลูกค้าเป็นฝ่ายเข้ามาหา หรือเข้ามามีส่วนลร่วมด้วยตัวเอง ผ่านกิจกรรมต่างๆ หรือรวมถึงการค้นหาข้อมูลของตราสินค้า ด้วยตัวเองมากกว่าการทีตราสินค้าเข้าไปหาลูกค้าโดยตรง
แนวคิดการตลาด แบบใหม่ทั้ง 2 แบบ
อย่างไรก็ตาม ด้วยการเปลี่ยนแปลงและเกิดขึ้น ของเทคโนโลยีและอินเตอร์เน็ต ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาแนวคิดทางการตลาดดังกล่าวได้รับอิทธิพลจากการพัฒนาอยู่อย่างตลอดเวลาของเทคโนโลยี จึงนำมาสู่ ชื่อเรียกและคำนิยามใหม่ที่ ใช้เรียกแนวคิดดังกล่าว ประกอบด้วย
การตลาดแบบผลักออก (Outbound marketing)
หรือ นักการตลาดสมัยใหม่ในต่างประเทศ เรียกกลยุทธ์ดังกล่าวว่า
การตลาดแบบขัดเขวางหรือรบกวน (Interruption marketing)
แท้จริงแล้วแนวคิดทางการตลาดดังกล่าวอยู่บนพื้นฐานกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดแบบดั้งเดิม ในรูปแบบของการสื่อสารดังกล่าวแบบในอดีตที่ใกล้เคียงกับแนวคิดของการตลาดแบบการตลาดแบบผลัก (push marketing) ที่เป็นการสื่อสารทางเดียวในสิ่งที่ตราสินค้าอยากจะบอกและนำเสนอและหลายครั้ง เป็นการสื่อสารที่ขัดจังหวะ หรือ ขัดขวางขณะที่กลุ่มเป้าหมาย กำลังทำกิจกรรมบางสิ่งบางอย่างที่สนใจอยู่ เช่น ในขณะที่กลุ่มเป้าหมายกำลังจะดูคลิปวิดีโอ ที่ตัวเองสนใจใน YouTube ก็จะต้องพบกับโฆษณาของตราสินค้าต่างๆ เป็นต้น
ในขณะที่อีกแนวคิดหนึ่งคือ แนวคิด
การตลาดแบบแรงดึงดูด (inbound marketing)
แท้จริงแล้วแนวคิดดังกล่าวมีความใกล้เคียงและอยู่บนหลักพื้นฐานแนวคิดเดียวกันกับ การตลาดแบบดึง (pull marketing) ที่เรารู้จักคุ้นเคยกันในอดีต โดยแนวคิดดังกล่าว ยังคงเป็นการเน้น กระตุ้นให้ลูกค้า ตระหนักถึงปัญหา จากการใช้สินค้าบริการ หรือ ความต้องการด้วยตัวเอง ผ่านการสื่อสาร ให้ข้อมูลต่างๆ ผ่านการทำเนื้อหาทางการตลาด (Content marketing) เพื่อให้ลูกค้านำมาสู่การค้น หาข้อมูลตราสินค้า ผ่านการค้นหา ไม่ว่าจะเป็น search engine optimization (SEO), search engine marketing (SEM), การค้นหาข้อมูลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ (social search) เป็นต้น
#บริหารรังสิต #RBSRSU #Dek65 #มอรังสิต #บริหารธุรกิจ